วันพุธที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2554

บทที่ 8 เรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศ

การพัฒนาระบบสารสนเทศ

การมีระบบสารสนเทศที่สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือคู่แข่งขัน ระบบสารสนเทศที่ดีจะช่วยจัดการและบริหารข้อมูลที่มีอยู่ภายในองค์กรและที่จะมาจากภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ใช้เทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์ และการออกแบบระบบสารสนเทศขององค์กรให้สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ การดำเนินในลักษณะที่ว่า การวิเคราะห์และออกแบบระบบ


ความสำคัญของผู้ใช้ต่อการพัฒนาระบบ
  ผู้ใช้ระบบ หมายถึง ผู้จัดการที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศขององค์กรและหรือเจ้าหน้าทระบบสารสนเทศ ผู้ใช้จะเป็นบุคคลที่ใช้งานและปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศโดยตรง
ระบบงานจะต้องให้ข้อมูลสำคัญแก่ทีมงานพัฒนาระบบโดยแจกรายละเอียดเกี่ยวข้อมูลดังนี้
1. สารสนเทศที่องค์กรหรือหน่วยงานต้องการ แต่ยังไม่มีระบบใดในปัจจุบันที่จะช่วยให้ได้มาซึ่งข้อมูลหรือสารสนเทศเท่านั้น
2. ผู้ใช้ระบบไม่พอใจต่อสิ่งใด ขั้นตอนหรือส่วนประกอบใดในระบบปัจจุบัน
3. ผู้ใช้ระบบมีความต้องการให้ระบบใหม่มีรูปแบบและคุณลักษณะอย่างไร ส่วนประกอบอะไรบ้าง และสามารถทำงานได้อย่างไร

ข้อบกพร่องของระบบสารสนเทศในการดำเนินงานขององค์กร

1. ความต้องการ
2. กลยุทธ์
3. เทคโนโลยีระบบปัจจุบันมีองค์ประกอบของเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม
4. ความซับซ้อน
5. ความผิดพลาด
6. มาตรฐานระบบเอกสารในระบบปัจจุบันมีมาตรฐานต่ำ

ปัจจัยในการพัฒนาระบบ

1. ผู้ใช้ระบบ
2. การวางแผน
3. การทดสอบ
4. การจัดเก็บเอกสาร
5. การเตรียมความพร้อม
6. การตรวจสอบและประเมินผล
7. การบำรุงรักษา
8. อนาคต

System Analyst หรือ SA เป็นบุคคลที่ศึกษาระบบงานโดยตรวจสอบกระบวนการปฏิบัติงาน ข้อมูลนำเข้า และสารสนเทศ เพื่อหาวิธีการพัฒนาให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขึ้น การทำงานของ SA จะมีบทบาทสำคัญ ดังนี้
นักวิเคราะห์ระบบ
1. ปรึกษา
2. ผู้เชี่ยวชาญ
3. ตัวแทนการเปลี่ยนแปลง

ทีมงานพัฒนาระบบ
   ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
เป็นกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบ และหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการพัฒนาระบบ งานพัฒนาระบบจะประกอบด้วยบุคคลดังนี้
1. คณะกรรมการดำเนินงาน
2. ผู้จัดการระบบสารสนเทศ
3. ผู้จัดการโครงการ
4. นักวิเคราะห์ระบบ
5. นักเขียนโปรแกรม
6. เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล
7. ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป
 
วิธีพื้นฐานในการพัฒนาระบบ

1. วิธีเฉพาะเจาะจง
2. วิธีสร้างฐานข้อมูล
3. วิธีจากล่างขึ้นบน
4. วิธีจากบนลงล่าง


1. การสำรวจเบื้องต้น
2. การวิเคราะห์ความต้องการ
3. การออกแบบระบบ
4. การจัดหาอุปกรณ์ของระบบ
5. การติดตั้งระบบและการบำรุงรักษา



บทที่ 6 เรื่อง ระบบการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การค้าทุกประเภทที่กระทำผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในขณะที่หลายคนอาจจะนึกถึงเฉพาะการค้าบนเว็บอย่างเดียว การค้าแบบซื้อมา-ขายไปในส่วนของหน้าร้านมีหลายแบบได้แก่
1. การค้าระหว่างองค์กรธุรกิจกับองค์กรธุรกิจ
2. การค้าระหว่างองค์กรธุรกิจกับผู้บริโภค
3. การค้าระหว่างผู้บริโภคด้วยกัน

การทำธุรกิจแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Business) หมายถึง การดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ หรืออินเทอร์เน็ต เป็นสื่อกลาง โดยมีการประยุกต์ใช้ในทุกกิจกรรม
จุดประสงค์หลักของการนำเอาระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงานด้านต่าง ๆ มีกระบวนการทางธุรกิจเพื่อ
1. ลดต้นทุน
2. ประหยัดเวลา
3. เพิ่มประสิทธิภาพ
4. ขยายตลาด


E-business Model สำหรับการค้า E-commerce

1. แบบซื้อมา – ขายไป
2. แบบสื่อกลางด้านข่าวสาร
3. แบบสื่อกลางด้านความไว้ใจ
4. แบบขายเครื่องมือในการทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
5. การให้บริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน


E-marketplace และแนวโน้มการค้าบนเว็บในอนาคต


เป็นแนวโน้มของการค้าบนเว็บ ความจริงไม่ได้แตกต่างกับการสร้างตลาดทำการค้าขายปลีกแต่อย่างใด แต่สร้างขึ้นมาได้โดยอาศัยเพียงการสร้างภาพเท่านั้น ไม่ต้องมีตึกแถว ไม่ต้องมีคอมเพล็กซ์ใหญ่โต และใช้เงินทุนที่ต่ำมากกว่าการสร้างตลาดจริง ๆ
ข้อควรพิจารณา คือ ผู้ที่จะเข้าไปร่วมค้าในตลาดใดตลาดหนึ่งก็ต้องพิจารณาเงื่อนไขให้รอบคอบว่าจะได้หรือเสียมากกว่ากัน


ปัจจัยที่ทำให้การค้า E-commerce ไม่ประสบผลสำเร็จ

1. การลอกเลียนแบบ
2. การอยู่กับความฝัน
3. ทำเว็บไซต์ที่วิจิตรสวยงาม
4. ทำเว็บไซต์แบบไร้ทิศทาง
5. ไม่มีระบบสนับสนุนพื้นฐานที่เพียงพอ
6. ทำงานได้ทีละอย่าง
7. คิดเล็กเกินไป


ปัจจัยที่ทำให้การค้าบนเว็บประสบความสำเร็จ


1. กล้าตัดสินใจ
2. หน้าที่หลักของท่านคือการคิดเรื่องการตลาด
3. โปรแกรมด้าน E-commerce
4. ใช้งบประมาณลงทุนน้อย
5. เร่งงานให้เสร็จตามกำหนดเวลา


กลยุทธ์การทำตลาดเว็บไซต์เพื่อ E-commerce


1. การสร้างเว็บไซต์ให้น่าสนใจ
2. มองหาเว็บไซต์อื่นเพื่อที่จะฝากลิงค์
3. สร้างสังคมออนไลน์ภายในเว็บไซต์ของเรา
4. การแลกแบนเนอร์ให้กับเว็บไซต์
5. โฆษณาขายสินค้าออนไลน์
6. นำจำนวนนับมาแปะไว้ในเว็บไซต์
7. การใช้สื่ออื่นเพื่อประชาสัมพันธ์เว็บไซต์


หลักการดำเนินธุรกิจบนอินเทอร์เน็ต


1. พัฒนาเทคโนโลยีด้านการขายให้เท่าทันกับคู่แข่งขัน
2. จัดเตรียมเครื่องมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ฝึกอบรมพนักงานขาย
4. ดำเนินการทดลองขาย
5. ขั้นการประเมินผล


ภัยคุกคามและโอกาสทางการตลาดของผู้ประกอบการไทย
ภัยคุกคาม


1. ธุรกิจที่ไม่เข้าสู่ web มีโอกาสล้ม
2. ผู้นำเข้าและผู้บริโภคในประเทศเป้าหมายมีโอกาสเลือกสินค้าจากเว็บไซต์ของคู่แข่งขันทั่วโลกมากขึ้น
3. กิจการในต่างประเทศทะลุเข้ามาขายสินค้าในประเทศไทย เท่ากับเป็นการเพิ่มจำนวนคู่แข่งขันในตลาดของเราได้อย่างรวดเร็ว
4. การขายสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ตทำให้ต้นทุนด้านการตลาด การบริหาร และราคาขาย สินค้าส่งออกถูกลงอย่างมาก ทำให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น
5. ผู้นำเข้าทั่วโลกที่มีระบบอินเทอร์เน็ตต้องการทำการค้าผ่านทางการค้าอิเล็กทรอนิกส์


โอกาส


1. ผู้ส่งออกรายเล็ก – กลางมีโอกาสโค่นหรือต่อสู่บริษัทขนาดใหญ่ได้
2. เริ่มต้นทำธุรกิจส่งออกได้ด้วยเงินทุนที่ต่ำ
3. มีโอกาสสร้างธุรกิจใหม่ให้กับความต้องการหลากหลายจากทั่วโลก
4. การขยายตลาดหรือขับกลุ่มเป้าหมายเพื่อทำกิจกรรมทางการตลาดได้โดยเสียค่าใช้จ่ายต่ำมาก
5. สามารถติดต่อกับลูกค้าได้โดยตรงทุกระดับไม่เฉพาะผู้นำเข้า ทำให้การปรับตัวตามความต้องการทำได้ง่าย และเลือกที่จะค้าได้โดยตรงกับผู้นำเข้า ผู้จัดจำหน่าย ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีกหรือผู้บริโภค
6. ผู้ส่งออก ประเภท SME ซึ่งมีขนาดเล็กจะเคลื่อนตัวตามการเปลี่ยนแปลงของตลาดบน web ได้เร็วกว่าองค์กรขนาดใหญ่

บทที่ 7 เรื่อง ระบบปัญญาประดิษฐ์

ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึง การทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติงานแทนที่มนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญญาประดิษฐ์ คือ ความพยายามให้การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ ระบบต่าง ๆ จะต้องมีความสามาระเข้าใจภาษามนุษย์ ทำงานที่ต้องการประสานงาน ระหว่างส่วนต่าง ๆ


1. ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์ “ความพยายามใหม่อันน่าตื่นเต้นที่จะทำให้คอมพิวเตอร์คิดได้ เครื่องจักรที่มีสติปัญญาอย่างครบถ้วนและแท้จริง
การทำให้เป็นอัตโตมัติของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความคิดมนุษย์ กิจกรรมอันได้แก่ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การเรียนรู้”
2. ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์ “วิชาของการสร้างเครื่องจักรที่ทำงานในสิ่งซึ่งอาศัยปัญญาเมื่อกระทำโดยมนุษย์
การศึกษาวิธีทำให้คอมพิวเตอร์กระทำในสิ่งที่มนุษย์ทำได้ดีกว่าในขณะนั้น”
3. ระบบที่คิดอย่างมีปัญญา “การศึกษาความสามารถในด้านสติปัญญาโดยการใช้โมเดลการคำนวณ
การศึกษาวิธีการคำนวณที่สามารถรับรู้ ใช้เหตุผล และกระทำ”
4. ระบบที่กระทำอย่างมีปัญญา “ปัญญาประดิษฐ์คือการศึกษาเพื่อออกเอเจนต์ที่มีปัญญา”
“AI เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่แสดงปัญญาในสิ่งที่มนุษย์สร้าง”
 
1. การค้นหาเชิงการจัด
2. คอมพิวเตอร์วิทัศน์
3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ
4. การโปรแกรมเชิงพันธุกรรม
5. ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม
6. การแทนความรู้
7. การเรียนรู้ของเครื่อง
8. การวางแผนของเครื่อง
9. ข่ายงานประสาทเทียม
10. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
11. การสังเคราะห์โปรแกรม
12. วิทยาการหุ่นยนต์
13. ชีวิตประดิษฐ์
14. Articial being
15. ปัญญาประดิษฐ์แบบกระจาย
16. Swarm Intelligence

1. การแทน เช่น การแทนความรู้
2. การเรียนรู้ การเก็บความรู้จากสิ่งรอบตัว
3. การค้นหา สำหรับการแก้ปัญหาการคำนวณหาค่าน้ำหนักของ
4. กฎ ข้อมูลที่เป็นจริงถูกต้องที่บรรลุในระบบผู้เชี่ยวชาญโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือข้อมูลที่เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ในระบบ

ประโยชน์ของปัญญาประดิษฐ์ในเชิงวัตถุ


1. ข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ในลักษณะคล้ายกับเป็นหน่วยบันทึกความจำขององค์กรกลายเป็นฐานความรู้องค์กร
2. ระบบจะช่วยสร้างกลไกที่ไม่นำความรู้สึก ความเหนื่อยล้า หรือความกังวล เข้ามาเป็นองค์ประกอบ ซึ่งจะมีประโยชน์เป็นอย่างมากกับงานประเภทที่อันตรายต่อมนุษย์
3. ระบบจะถูกนำมาทำงานในส่วนที่เป็นงานจำเป็น หรือเป็นงานที่น่าเบื่อหน่ายสำหรับมนุษย์
4. ระบบจะช่วยเพิ่มความสามารถในฐานความรู้ขององค์กร ด้วยการเสนอวิธีแก้ปัญหาสำหรับงานเฉพาะด้าน


ปัญญาประดิษฐ์ ในระบบธุรกิจ


1. fuzzy logic คลุมเครือ บอกไม่ได้ชัดเจน
2. Genetic Algorithms การปรับเปลี่ยนสารพันธุกรรมของยีนส์ หมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ใช้แนวทางเดียวกับวิธีการที่สิ่งมีชีวิตปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อม

ระบบปัญญาประดิษฐ์แบบผสมผสาน


ประเภทของปัญญาประดิษฐ์


1. การประมวลภาษาธรรมชาติ ภาษาที่เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารโดยตรงกับคอมพิวเตอร์
2. ระบบภาพ การที่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้โดยอาศัยการมองและการจดจำรูปแบบ
3. ระบบเครือข่ายเส้นประสาท ระบบที่อาศัยความรู้เป็นพื้นฐานสร้างเลียนแบบเส้นใยประสาทของมนุษย์
4. หุ่นยนต์ เกี่ยวกับการออกแบบ การสร้าง และการนำไปใช้งาน ให้เคลื่อนไหวได้คล้ายมนุษย์
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ

การวางแผน

การแก้ปัญหา
ตรรกวิทยาแบบคลุมเครือ

ปัญญาประดิษฐ์จะมีความแตกต่างจากระบบสารสนเทศสามารถสรุปได้ดังนี้
1. AI ทำการประมวลผลทั้งสัญลักษณ์และตัวเลข
2. AI เป็นชุดคำสั่งแบบไม่ดำเนินการตามขั้นตอนทางคณิตศาสตร์
3. ชุดคำสั่งของระบบ AI
 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ


คือ ระบบคอมพิวเตอร์ที่จำลองการตัดสินใจของมนุษย์เป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่ง โดยใช้ความรู้และการสรุปเหตุผลเชิงอนุมานในการแก้ปัญหายาก ๆ ที่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ระบบผู้เชี่ยวชาญได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานในระบบต่าง ๆ อย่างแพร่หลายมากกว่า 30 ปี
 
ข้อจำกัด ของระบบผู้เชี่ยวชาญ


1. ทำได้ Domain แคบ ๆ
2. ไม่มีสามัญสำนึก
3. เรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง
4. ใช้ทางด้านการรักษา ใช้แทนได้ไหม เกิดเป็นปัญหาขึ้นมา
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ
1. ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น
2. จะช่วยขยายขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมกัน
3. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กับผู้ทำการตัดสินใจได้เป็นอย่างมาก
4. ผู้เชี่ยวชาญจะทำการตัดสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่ขัดแย้งกัน
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญช่วยลดการกึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
6. มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนอย่างมาก


ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ


1. ช่วยรักษาความรู้ที่อาจสูญเสียไป เมื่อเกิดการลาออกของพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญ
2. ช่วยทำให้ข้อมูลคุณภาพและมีศักยภาพในการนำมาใช้งานได้อย่างทันท่วงทีเมื่อต้องการ
3. ช่วยทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่
4. ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดภาวะที่อาจเกิดกับมนุษย์
5. ใช้เป็นเครื่องมือเชิงกุลยุทธ์ ด้านการตลาด การลดต้นทุน และการปรับปรุงพัฒนาสินค้า


Expert System สามารถช่วยองค์กรได้


1. การวางแผน
2. การตัดสินใจ
3. การควบคุมดู
4. การวินิจฉัยอาการ
5. การจัดการฝึกอบรม
6. การเรียนรู้
7. การเรียนรู้จากเหตุการณ์
8. การคิดอีกทีก็ให้คำตอบเหมือนเดิม
9. การพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญ
10. ทักษะความรู้ที่เหนือกว่าค่าปกติ
11. ส่วนประกอบของระบบ
12. ระบบโต้ตอบกับคน
13. ฐานความรู้
14. เสนอวิธีแก้ปัญหาสำหรับงานเฉพาะหน้าซึ่งมีปริมาณมากหรือซับซ้อนมากเกินไปสำหรับมนุษย์


Expert System in Action เรานำระบบผู้เชี่ยวชาญมาใช้


1. ระบบธุรกิจ
2. ระบบโทรศัพท์
3. บัตรเครดิต
4. ภาษี
5. ในบริษัทมหาชนขายหุ้น
6. แหล่งแร่ และศัตรูพืช
7. วินิจฉัยโรค
8. การเลือกนักศึกษาเข้าเรียน


การนำระบบผู้เชี่ยวชาญไปใช้งาน


1. ด้านการผลิต
2. การตรวจสอบ
3. การประกอบชิ้นส่วน
4. ด้านบริการ
5. ด้านการซ่อมแซมโทรศัพท์
6. การตรวจสอบบัญชี
7. การคิดภาษี
8. การวางแผนด้านการเงิน
9. ด้านการลงทุน
10.ด้านบุคคล
11.ด้านการตลาด
12. การอนุมัติสินเชื่อ
13. หน่วยงานด้านบริการของรัฐ
14. การทำนายทางแพทย์

ระบบผู้เชี่ยวชาญ เป็นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค ระบบที่มีชื่อเสียงเมื่อสิบปีเศษคือระบบ Mycin ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด หลักการที่ใช้คือ เก็บข้อมูลต่าง ๆ ไว้ให้ละเอียด แล้วใช้หลักปัญญาประดิษฐ์มาช่วยวิเคราะห์เป็นแนวคิดในการทำให้คอมพิวเตอร์ทำงาน และคิดได้เหมือนคน
 
ส่วนประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ


1. ฐานความรู้ เป็นส่วนที่เก็บความรู้ทั้งหมดของผู้เชี่ยวชาญที่รวบรวมจากการศึกษาและจากประสบการณ์
2. เครื่องอนุมาน เป็นส่วนควบคุมการใช้ความรู้ในฐานความรู้ เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
2.1 การอนุมานแบบไปข้างหน้า
2.2 การอนุมานแบบย้อนหลัง
3. ส่วนดึงความรู้ เป็นส่วนที่ดึงความรู้จากเอกสารตำรา ฐานข้อมูล และผู้เชี่ยวชาญ
4. ส่วนอธิบาย เป็นส่วนที่อธิบายถึงรายละเอียดของข้อสรุปหรือคำตอบที่ได้มานั้น
5. การติดต่อกับผู้ใช้ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ES เนื่องของผู้ใช้จะมีความรู้ในงานสารสนเทศที่แตกต่างกัน
 
การพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญ


1. การวิเคราะห์ปัญหา ดำเนินการพิจารณาถึงความต้องการความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของการนำระบบไปใช้งานในสถานการณ์จริง โดยทำความเข้าใจของปัญหา
2. การเลือกอุปกรณ์ ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของ ES ซึ่งแต่ละส่วนจะมีความต้องการอุปกรณ์ที่มีความเหมาะสมแตกต่างกัน
2.1 การแสดงความรู้
2.2 เครื่องอนุมาน
2.3 การติดต่อกับผู้ใช้
2.4 ชุดคำสั่ง
2.5 การธำรงรักษาและการพัฒนาระบบ
3. การถอดความรู้ ผู้พัฒนาระบบต้องทำการสังเกต ศึกษา และทำความเข้าใจกับความรู้ที่นำมาพัฒนาเป็น ES จากแหล่งอ้างอิง หรือผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น
4. การสร้างต้นแบบ ผู้พัฒนา ES จะนำเอาส่วนประกอบต่าง ๆ ที่กล่าวมามาประกอบการสร้างต้นแบบของES โดยผู้พัฒนาระบบจะเริ่มต้นจากการนำแนวความคิดทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับระบบที่ต้องการพัฒนามาจัดเรียงลำดับ
5. การขยาย การทดสอบและบำรุงรักษา หลังจากที่ต้นแบบได้ถูกสร้างขึ้นและสามารถผ่านการทดสอบการทำงานแล้ว เพื่อที่จะให้ระบบสามารถนำไปใช้ในสภาวการณ์จริงได้ก็จะต้องทำการขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นจากต้นระบบ


ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ


1. ช่วยรักษาความรู้ที่อาจสูญเสียไป เมื่อเกิดการลาออกของพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญ
2. ช่วยทำให้ข้อมูลมีคุณภาพ และมีศักยภาพในการนำมาใช้งานได้อย่างทันท่วงทีเมื่อต้องการ
3. ช่วยทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่
4. ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดภาวะที่อาจเกิดกับมนุษย์
5. ใช้เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ ด้านการตลาด การลดต้นทุน และการปรับปรุงพัฒนาสินค้า


ตัวอย่างของ ES


1. การตรวจสอบ
2. การบริการ
3. การวินิจฉัยโรค
4. การให้สัญญาณเตือน
5. การพยากรณ์อากาศ


ระบบเครือข่ายเส้นประสาท


นักวิทยาศาสตร์พยายามสังเกต ศึกษา และเลียนแบบการทำงานของระบบเส้นประสาทและสมองมนุษย์ เพื่อนำมาประยุกต์ในการทำงาน และการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีการทำงานใกล้เคียงกับการทำงานของสมองมนุษย์มากขึ้น ระบบประสาทประกอบด้วย เซลล์ประสาท ซึ่งเปรียบเสมือนหน่วยประมวลผลย่อย ที่ตอบสนองต่อการกระตุ้นจากภายนอกหรือเซลล์ประสาทอื่น โดยปกติมนุษย์มีเซลล์ประสาทอยู่ถึงล้านล้านเซลล์ โดยแต่ละเซลล์จะเชื่อมโยงต่อเนื่อง เป็นระบบเครือข่ายที่ซับซ้อน
ระบบเครือข่ายเส้นประสาทจะต้องประกอบด้วยเซลล์ประสาทที่ต่อเรียงกันเข้าเป็นระบบอย่างน้อยสองระดับ โดยระดับแรกเรียกว่า ระดับนำเข้า ทำหน้าที่รับสิ่งของนำเข้า จากสิ่งแวดล้อมภายนอก เข้าสู่ระบบแล้วทำการส่งต่อให้เครือข่ายในระดับถัดไปตามหน้าที่และความสัมพันธ์ที่ถูกกำหนด ระดับสุดท้าย เรียกว่า ระดับแสดงผลลัพธ์ ประกอบด้วยหน่วยแสดงผลที่ติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้


ความรู้


ความรู้ เป็นสิ่งที่ยากที่จะกำหนดขอบเขตของความหมายแต่ถ้าเราเริ่มจากคำว่า “ข้อมูล” หรือ “ข้อเท็จจริง” สิ่งที่ได้คือความจริงต่าง ๆ ที่ปรากฏเกิดขึ้นการดำเนินการต่าง ๆ ทำให้เกิดข้อมูล เมื่อมีการเก็บข้อมูลก็มีการประมวลผล เพื่อให้ได้ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินการ การที่มีข่าวสารที่เกิดการประมวลผลบางทีเรียกว่า สารสนเทศ

ความรู้ หมายถึง ระดับของภูมิปัญญาในการรับรู้และการทำความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยที่ความรู้กับข้อมูลจะมีความใกล้เคียงกันในหลายลักษณะ มีความแตกต่างตามหลักด้านวิศวกรรม 2 ประการ คือ ความชัดเจน และ ความเป็นสากล
 
ฐานความรู้ และการเรียนรู้ขององค์กร

ความซับซ้อน
ความรอบรู้มาจากข้อมูล ความสำคัญกับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ มากขึ้น มีการเก็บรวบรวมข้อมูล คิดค้นหาเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ได้มากและรวดเร็วเราใช้บาโค้ด ใช้เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก


การจัดการความรอบรู้


วิธีการจัดการความรอบรู้จึงเป็นเทคนิคที่ผสมผสานวิธีการต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ตั้งแต่เรื่องการจัดการฐานข้อมูล ดาต้าแวร์เฮาส์ ดาต้าไมนิง ระบบปัญญาประดิษฐ์ เพื่อตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้ในองค์กร
ในระบบการจัดการองค์กร มี CIO ทำหน้าที่ดูแลระบบสารสนเทศขององค์กร
 
ศาสตร์ของการจัดการความรอบรู้ยังกว้าง


1. ระบบผู้ชำนาญการ
2. Visualization การนำเอาข้อมูลมาแสดงผล
3. ฟัซซีลอจิก เป็นสาสตร์แห่งการแยกแยะความกำกวม หรือการแก้ปัญหา


การประมวลผลธรรมชาติ NLP


1. เพื่อทำให้ระบบเชื่อมโยงกับมนุษย์ง่ายต่อการใช้งานและมีความเข้าใจร่วมกันระหว่างเครื่องจักรกับมนุษย์
2. นิวรอลคอมพิวติง การดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาและให้ระบบมีวิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา
3. การประมวลผลภาพและการประมวลผลเสียง


อนาคตการจัดการความรู้

ด้วยขีดความสามารถของความจุ และความเร็วที่คอมพิวเตอร์ทำงานได้เพิ่มขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการข้อมูลข่าวสารจึงเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบที่ซับซ้อนขึ้น

การเก็บรวบรวมความรู้

ความเชี่ยวชาญในเรื่องแคบมาก ๆ ความรู้ผู้เชี่ยวชาญจะถูกเก็บในรูปแบบของกฎพื้นฐาน ไว้ในหน่วยบันทึกความจำขององค์กร

โครงสร้างของความรู้

คุณสมบัติที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งอยู่ในลักษณะการใช้งานร่วมกัน มากกว่าเป็นโครงสร้างลำดับชั้น แนวความคิดนี้เป็นการเลียนแบบความคิดของมนุษย์ มีการกำหนดกรอบความรู้ หรือนิยามของสิ่งต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว ควบคู่ไปกับอวัยวะในการรับรู้
เป็นปัญหาใหญ่ของการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน งานการบริหาร งานดำเนินการในองค์กร มีความซับซ้อนมากขึ้นกว่าเดิม การแข่งขันเชิงธุรกิจทำให้พัฒนาองค์กรในทุก ๆ ด้าน
การเล่นเกมเป็นเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อช่วยในการจัดตารางการทำงานให้ลงตัวภายใต้เงื่อนไขอันมากมาย และเสนอทางเลือกที่ดีที่สุดได้ ระบบเจเนติกอัลกอริทึมฟัสซีโลจิก ระบบเครือข่ายนิวรอน และระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถนำมาบูรณาการ เข้าด้วยกันเป็นระบบเดียว เพื่อเลือกใช้แต่ส่วนที่ดีที่สุดของเทคโนโลยีแต่ละอย่าง

เทคนิคของปัญญาประดิษฐ์


สาขาของปัญญาประดิษฐ์


นิยามของปัญญาประดิษฐ์

วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554

มาโครไวรัส (macro virus)

มาโครไวรัส คือไวรัสที่ติดไฟล์เอกสารชนิดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการใส่คำสั่งมาโครสำหรับทำงานอัตโนมัติในไฟล์เอกสารด้วย ตัวอย่างเอกสารที่สามารถติดไวรัสได้ เช่นไฟล์ไมโครซอฟท์เวิร์ด ไมโครซอฟท์เอ็กเซล เป็นต้น
โทรจัน (Trojan)

โทรจัน คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอย่าง ในเครื่องของเราจากผู้ที่ไม่หวังดี ชื่อเรียกของโปรแกรมจำพวกนี้ มาจากตำนานของม้าไม้แห่งเมืองทรอยนั่นเองซึ่งการติดนั้นจะไม่เหมือนกับไวรัส และหนอนที่จะกระจายตัวได้ด้วยตัวมันเอง แต่โทรจันจะถูกแนบมากับ
อีการ์ด อีเมล หรือโปรแกรมที่มีให้ดาวน์โหลดตามอินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ใต้ดิน และสุดท้ายที่มันต่างกับไวรัสและเวิร์ม คือมันจะสามารถเข้ามาในเครื่องของเรา โดยที่เราเป็นผู้รับมันมาโดยไม่รู้ตัวและมันจะเปิดช่องทางให้ผู้ไม่หวังดีเข้ามายังเครื่องของเราได้

หนอน (Worm)

หนอน เป็นรูปแบบหนึ่งของไวรัส มีความสามารถในการทำลายระบบในเครื่องคอมพิวเตอร์สูงที่สุดในบรรดาไวรัสทั้งหมด สามารถกระจายตัวได้รวดเร็วผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งสาเหตุที่เรียกว่าหนอนนั้นคงจะเป็นลักษณะของการกระจายและทำลายคล้ายกับหนอนกินผลไม้ ที่สามารถกระจายตัวได้มากมาย รวดเร็ว และเมื่อยิ่งเพิ่มจำนวนมากขึ้น ระดับการทำลายล้างยิ่งสูงขึ้น
 การแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์ สามารถกระทำได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
1 นำแผ่นดิสก์ที่มีไวรัสอยู่มาใช้งาน จะทำให้ไวรัสเข้าไปอาศัยอยู่ในหน่วยความจำขอ เครื่องคอมพิวเตอร์
- หากเครื่องคอมพิวเตอร์มีฮาร์ดดิสก์ติดไวรัสไปด้วยและเมื่อนำเอาแผ่นดิสก์ใหม่มาใช้งานอีกก็จะทำให้ติดไวรัสไปเช่นกัน
- หากเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีฮาร์ดดิสก์ หากมีการนำแผ่นดิสก์อื่น ๆ มาใช้งานในขณะที่มีไวรัสอาศัยอยู่ในหน่วยความจำ ไวรัสก็จะแพร่กระจายเข้าสู่แผ่นดิสก์นั้นด้วย
 2 ไวรัสสามารถแพร่กระจายไปตามระบบสื่อสารของคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบ LAN , MODEM เป็นต้นสำหรับชนิดของไวรัสคอมพิวเตอร์ที่มีในปัจจุบันนั้นไม่สามารถบอกจำนวนชนิดได้แน่นอนเนื่องจากไวรัสคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ อีกทั้งยังมีจำนวนชนิดที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ส่วนสาเหต ที่ทำให้เกิดไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นมีด้วยกันหลายสาเหตุ เช่น ในเรื่องของธุรกิจการค้าการจำหน่ายโปรแกรมนั้นจำเป็นที่จะต้องมีการป้องกันการก๊อปปี้เพื่อให้การจำหน่ายโปรแกรมสามารถทำกำไรให้แก่ผู้ผลิตหรือจำหน่ายได้เต็มที่หรือในกรณีที่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องการทดสอบวิชาที่ตัวเองได้ศึกษามา เป็นต้น


 อาการของคอมพิวเตอร์ที่สงสัยว่าติดไวรัส
1.ชอบมีหน้าต่างโฆษณาผุดขึ้นมาบ่อยๆจนน่าลำคาญ ทั้งๆที่ไม่ได้รับเชิญ
2.มีโปรแกรมบางอย่างติดตั้งอยู่ในเครื่อง ทั้งๆที่ไม่เคยสั่งติดตั้ง  บางโปรแกรม ถอนการติดตั้งไม่ได้ ลบก็ไม่ออก
3.รีสตาร์ทเครื่องเอง ทั้งๆที่ไม่ได้สั่ง หรือเครื่องแฮงค์อยู่บ่อยๆ(กรณีย์เช็คHardwareแล้วปกต
4.ปรากฏหน้าโฮมเพจแปลกๆ ที่เราไม่ได้ตั้งค่าไว้ และไม่สามารถตั้งค่าโฮมเพจใหม่ได้
5.ขณะที่กำลังเข้าชมเว็บไซด์ที่ต้องการ กลับมีมีเว็บไซด์อื่นที่ไม่รู้จักปรากฏออกมาด้วย
6.อินเทอร์เน็ตช้าลงอย่างไม่รู้สาเหตุ
7.เครื่องทำงานได้ช้าลง เนื่องจากต้องเสียหน่วยความจำ(Ram)ไปให้กับไวรัส หรือHarddisk ทำงานตลอด สังเกตุไฟสีแดงจะค้าง
8.ปรากฏ เมล์ ที่ไม่รู้จักอยู่เต็มไปหมด
9.บางโปรแกรมที่เราติดตั้งไว้ในเครื่องไม่ทำงาน ข้อมูลในเครื่องได้รับความเสียหาย เปิดอ่านไม่ได้ แฟ้มหรือโปรแกรมถูกทำลาย ไวรัสบางโปรแกรมจะทำลายโปรแกรมหลักได้แก่
หรือถูกลบหรือหายไปโดยไม่ทราบสาเหตุ
10.บางครั้งสั่งพิมพ์งานแต่เครื่องพิมพ์(Printer)กลับไม่ตอบสนองคำสั่ง หรือสั่งแล้วพิมพ์ไม่หยุด
11.มีแถบเครื่องมือหรือทูลบาร์แปลกๆ ในเว็บบราวเซอร์ ที่ท่านใช้Onlineอยู่ ทั้งๆที่ไม่ได้ติดตั้ง
12.มีIconชอร์ตคัท ของโปรแกรมที่เราไม่รู้จัก อยู่บนเดสก์ทอป ทั้งๆที่ไม่เคยสั่งติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม
13.ทำงานช้าลง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เคยทำงานรวดเร็ว ต่อมาเกิดอาการเฉื่อยลง การเปิดแฟ้มช้าลงบางครั้งมีภาพหรืออักษรประหลาดขึ้นมาบนจอภาพ
14.แผ่นบันทึกข้อมูลเต็ม ไวรัสบางโปรแกรมจะเพิ่มขนาดให้กับแฟ้มข้อมูล หรือ โปรแกรมทำให้แฟ้มข้อมูลโตขึ้นทุกครั้งที่ใช้งานจนในที่สุดจะมีข้อความแจ้งว่าแผ่นบันทึกข้อมูลเต็ม
 15.แฟ้มหรือโปรแกรมถูกทำลาย ไวรัสบางโปรแกรมจะทำลายโปรแกรมหลักได้แก่ โปรแกรมที่มีประเภทเป็น .EXE และ .COM ทำให้นำโปรแกรมมาทำงานไม่ได้
                   

วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

หน่วยที่ 3 ระบบย่อยของสารสนเทศเพื่อการจัดการ

                      ระบบย่อยของสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ระบบ MIS เป็นระบบใหญ่และมีความซับซ้อน จึงมีการแบ่งออกเป็นระบบย่อย ๆ ดังนี้
1.ระบบประมวลผลรายการ หรือที่เรียกว่า TPS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น โดยใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์เข้ามาเป็นอุปกรณ์หลักของระบบ เพื่อให้การทำงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานภายในองค์กรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2.ระบบจัดทำรายงานสำหรับการจัดการ หรือที่เรียกว่า MRS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น เพื่อรวบรวม ประมวลผล จัดระบบ และจัดทำรายงานหรือเอกสารสำหรับช่วยในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร
3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ หรือที่เรียกว่า DSS หมายถึง ระบบที่จัดหาหรือจัดเตรียมสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร เพื่อจะช่วยในการตัดสินใจแก้ปัญหาหรือเลือกโอกาสที่เกิดขึ้นปกติปัญหาของผู้บริหารจะมีลักษณะที่เป็นกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
4.ระบบสารสนเทศสำนักงาน หรือที่เรียกว่า OIS หมายถึง ระบบที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นให้ช่วยการทำงานในสำนักงาน เพื่อเพิ่มผลิตและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในสำนักงาน
ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ
1.การทำบัญชี ทำหน้าที่ ในการเก็บบันทึกการปฏิบัติงานหรือเหตุการณ์ทางการบัญชี
2.การออกเอกสาร ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในแต่ละวันขององค์กร
3.การทำรายงานควบคุม ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารค่าง ๆ ที่มีผลมาจากการดำเนินงานขององค์กร
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการดำเนินงานทางธุรกิจ
1.ความผิดพลาดที่เกิดจากความสะเพร่า
2.ใช้แรงงานมาก
3.การสูญหายของข้อมูล
4.การตอบสนองที่ล่าช้า

วงจรการทำงานของระบบปฏิบัติงานทางธุรกิจ
1.การป้อนข้อมูล
2.การประมวลผลหรือการปฏิบัติงานกับข้อมูล
2.1 แบบครั้งต่อครั้ง
2.2 แบบตามเวลาที่เกิดขึ้นจริง
3.การปรับปรุงฐานข้อมูล
4.การผลิตรายงานและเอกสาร
4.1 เอกสารที่เกี่ยวกับสารสนเทศ
4.2 เอกสารการปฏิบัติการ
4.3 เอกสารหมุนเวียน
5.การให้บริการสอบถาม
 
ระบบย่อยของระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ
1.ระบบจ่ายเงินเดือน
2.ระบบบันทึกคำสั่งซื้อ
3.ระบบสินค้าคงคลัง
4.ระบบใบกำกับสินค้า
5.ระบบส่งสินค้า
6.ระบบบัญชีลูกหนี้
7.ระบบสั่งซื้อสินค้า
8.ระบบรับสินค้า
9.ระบบบัญชีเจ้าหนี้
10.ระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ
1.สามารถที่จะสนับสนุนการตัดสินใจทั้งที่เป็นแบบโครงสร้างและกึ่งโครงสร้างอย่างมีประสิทธิภาพ
2.ผลลิตเอกสารหรือรายงานตามตารางที่กำหนด
3.ถูกผลิตออกมาในรูปแบบที่คงที่หรือถูกกำหนดไว้
4.สารสนเทศที่บรรจุอยู่ในรายงานหรือเอกสารมักจะเป็นสารสนเทศ
5.บ่อยครั้งที่รายงานหรือเอกสารจะถูกผลิตในรูปของกระดาษ
 
ประเภทของรายงาน
รายงาน เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นโดยรวบรวมข้อมูลสำคัญในแต่ละเรื่อง เพื่อใช้ประกอบการปฏิบัติงานของผู้ใช้หรือการตัดสินใจของผู้บริหาร
1.รายงานที่ออกตามตาราง
2.รายงานที่ออกในกรณีพิเศษ
3.รายงานที่ออกตามความต้องการ
4.รายงานที่ออกเพื่อพยากรณ์
 
คุณสมบัติของสารสนเทศในระบบจัดทำรายงาน
1. ตรงประเด็น
2.ความถูกต้อง
3.ถูกเวลา
4.สามารถพิสูจน์ได้
 ประเภทของสำนักงาน
1. การตัดสินใจ
2.การจัดการเอกสาร
3.การเก็บรักษา
4.การจัดเตรียมข้อมูล
5.การติดต่อสื่อสาร
 
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยผู้ตัดสินใจที่ต้องเผชิญกับปัญหาที่มีโครงสร้างระดับต่าง ๆ โดยสามารถทดสอบผลการตัดสินใจในการแก้ปัญหาด้วยตัวแบบข้อมูลและทำการวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
ระบบสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ทำการตัดสินใจใช้ประกอบการตัดสินใจ จึงเป็นระบบที่ง่ายต่อการเรียกใช้งานและการโต้ตอบ


ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
1.การจัดการข้อมูล
2.การจัดการตัวแบบ
3.การจัดการความรู้
4.การติดต่อกับผู้ใช้
 
ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน
1.1 การประมวลคำ
1.2 การผลิตเอกสารหลายชุด
1.3 การออกแบบเอกสาร
1.4 การประมวลรูปภาพ
1.5 การเก็บรักษา
2. ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร
2.1 โทรสาร
2.2 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
2.3 ไปรษณีย์เสียง
3. ประทุมทางไกล
3.1 การประชุมทางไกลที่ใช้ทั้งภาพและเสียง
3.2 การประชุมทางไกลใช้เฉพาะเสียง
3.3 การประชุมโดยใช้คอมพิวเตอร์
3.4 โทรศัพท์ภายใน
3.5 การปฏิบัติงานผ่านระบบสื่อสารทางไกล
4. ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน
4.1 ชุดคำสั่งสำหรับกลุ่ม
4.2 ระบบจัดระเบียบงาน
4.3 คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
4.4 การนำเสนอประกอบภาพ
4.5 กระดานข่าวสารในสำนักงาน

หน่วยที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

                                            ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

ระบบสารสนเทศ คือ กระบวนการประมวลผลข่าวสารที่มีอยู่ ให้อยู่ในรูปของข่างสารที่เป็นประโยชน์สูงสุด เพื่อเป็นข้อสรุปที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลระดับบริหาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผนจัดการและใช้งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
1. ระบบประมวลผล
2. ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
3. การจัดการข้อมูล

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรมาไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ
2. สามารถทำการประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานและการบริหารงานของผู้บริหาร

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1.1 ฐานข้อมูล
1.2 เครื่องมือประกอบด้วยส่วนสำคัญ
- อุปกรณ์ คือ ตัวเครื่องหรือส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
- ชุดคำสั่ง คือ ชดคำสั่งที่ทำหน้าที่รวบรวม และจัดการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารงาน
2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผล
3. การแสดงผลลัพธ์


คุณสมบัติของสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. ความสามารถในการจัดการข้อมูล
2. ความปลอดภัยของข้อมูล
3. ความยืดหยุ่น
4. ความพอใจของผู้ใช้


ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์
2. ช่วยผู้ใช้ในการกำหนเป้าหมายกลยุทธ์และการวางแผนปฏิบัติการ
3. ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงาน
4. ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
5. ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น
6. ช่วยลดค่าใช้จ่าย


                                             ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร


คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์
2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร
3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง
4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน
5. พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร


ข้อดีของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้ โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง
2. ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาอันสั้น
4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน
5. ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ
6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อจำกัดของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
1. มีข้อจำกัดในการใช้งาน เนื่องจาก EIS ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง
2. ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร
3. ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์กรจะได้รับ
4. ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลผลที่ซับซ้อนและหลากหลาย
5. ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล
6. ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมูลและของระบบ
7. ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ
สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ
คุณสมบัติของข้อมูล
1. ความถูกต้อง
2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน
3. ความสมบูรณ์
4. ความชัดเจนและกะทัดรัด
5. ความสอดคล้อง

การทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.2 การตรวจสอบข้อมูล
2. การดำเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ
2.1 การจัดแบ่งข้อมูล
2.2 การจัดเรียงข้อมูล
2.3 การสรุปผล
2.4 การคำนวณ
3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพี่อการใช้งาน
3.1 การเก็บรักษาข้อมูล
3.2 การค้นหาข้อมูล
3.3 การทำสำเนาข้อมูล
3.4 การสื่อสาร

ลักษณะสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. MIS ถูกนำไปใช้ในการตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ
2. MIS เป็นระบบงานซึ่งผสมผสานข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่งหรือระบบย่อยหลาย ๆ ระบบที่มีความสัมพันธ์กัน
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
4. MIS จะใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
5. สารสนเทศนั้นจะถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญอีกอย่างหนึ่ง
6. ทำการจัดเก็บข้อมูลสร้างเป็นฐานข้อมูลเก็บไว้
7. การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ MIS

ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศในองค์กร
มีหน้าที่หลัก คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทั้งภายในและภายนอกองค์กรมาไว้อย่างเป็นระบบ
1. ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ TPS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นเพื่อให้ทำงานเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานภายในองค์กร
2. ระบบสารสนเทศสำนักงาน OIS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้การทำงานในสำนักงานมีประสิทธิภาพ
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS คือ ระบบที่ช่วยให้เตรียมรายงานเพื่อให้ผู้บริหารระดับต่าง ๆ ใช้ในการควบคุมการปฏิบัติงานผู้บริหารสามรถใช้สารสนเทศที่ได้จัดการกับปัญหาแบบโครงสร้าง
4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่จัดหาหรือจัดเตรียมข้อมูลสำคัญสำหรับผู้บริหาร เพื่อจะช่วยในการตัดสินใจ แก้ปัญหาหรือเลือกโอกาสที่เกิดขึ้น

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1. เครื่องมือในการสร้าง MIS
2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผล
2.1 ทำการประมวลผลข้อมูลทั่วไป
2.2 ใช้ข้อมูลที่มีรายละเอียด
2.3 ระยะเวลาในการใช้ข้อมูลเป็นระยะสั้น
2.4 ระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
3. มีการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศเป็นฐานข้อมูล
4. การแสดงผลลัพธ์
5. มีการจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรข้อมูล
5.1 การบริหารงานมีความซับซ้อนมากขึ้น
5.2 ความจำเป็นในเรื่องกรอบเวลา
5.3 การพัฒนาทางเทคนิค
5.4 การตระหนักถึงคุณค่าและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ เรียกว่า EIS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะและความสามรถในการเข้าถึงสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกองค์กรอย่างมีหลักเกณฑ์ มีหน้าที่หลัก 2 ประการคือ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีองค์ประกอบสำคัญดังนี้